วันศุกร์, 19 เมษายน 2567

ข้อมูลพื้นฐาน

ปรัชญา

บริการนำวิชาชีพ

วิสัยทัศน์

ผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาที่มีคุณภาพได้มาตรฐานระดับสากลสอดคล้องกับชุมชนและความต้องการของสถานประกอบการ

พันธกิจ

  1. 1. จัดการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมอาชีพให้ได้มาตรฐาน
  2. 2. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีระเบียนวินัยคุณธรรม จริยธรรม
  3. 3. พัฒนาผู้เรียน มุ่งสู่การประกอบอาชีพ และดำรงตนอยู่ได้ตามปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง

เอกลักษณ์

บริการวิชาชีพสู่ชุมชน

อัตลักษณ์

ทักษะเยี่ยม  เปี่ยมคุณธรรม

เป้าประสงค์

  1. จัดการศึกษาสายอาชีพให้กับนักเรียน นักศึกษาส่งเสริมให้มีการพัฒนาหลักสูตรรองรับการประกอบอาชีพของประชาชน
  2. ส่งเสริมให้ประชาชนเห็นความสำคัญของการศึกษาสายอาชีพเพื่อเพิ่มปริมาณผู้เรียน เพิ่มทางเลือกให้กับนักเรียน โดยการจัดการศึกษาอาชีพในโรงเรียนมัธยม รองรับการศึกษาตลอดชีพโดยการเทียบโอนประสบการณ์
  3. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ครูปรับวิธีเรียน เปลี่ยนวิธีสอน ปฏิรูปวิธีสอบ มุ่งเน้นการพัฒนาคุณธรรมนำวิชาชีพ การพัฒนาตนเองในด้านวิชาการ ด้านเทคโนโลยี การจัดทำสื่อการสอน ในรูปแบบต่างๆ
  4. ส่งเสริมให้นักเรียนนักศึกษา ได้พัฒนาและจัดองค์ความรู้จากประสบการณ์จริงโดยอาศัยความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา สถานประกอบการและชุมชน
  5. เพิ่มศักยภาพของนักเรียนนักศึกษาและประชาชนให้มีความสามารถในการสร้างอาชีพแบบบูรณาการ เพิ่มผู้ประกอบการรายใหม่
  6. ทำนุบำรุงศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณีที่ดีของชาติและท้องถิ่น
  7. ส่งเสริม สนับสนุนให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามนโยบาย 3D (ด้านประชาธิปไตย, ด้านคุณธรรมความเป็นไทย, ห่างไกลยาเสพติด)
  8. ขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การบริหารสถานศึกษาและการจัดการเรียนการสอน
  9. จัดการศึกษาให้ได้มาตรฐานตามตัวบ่งชี้ที่สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์กรมหาชน) กำหนดครอบคลุมทั้ง 4 มาตรฐาน คือ 1) ผลการจัดการศึกษา 2) การบริหารจัดการศึกษา 3) การจัดการเรียนสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและ 4) การประกันคุณภาพภายใน

จุดเน้นในการพัฒนาสถานศึกษา และความโดดเด่น

จุดเน้นในการพัฒนาของสถานศึกษา

  1. พัฒนาผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการทำงาน
  2. พัฒนาด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอน
  3. พัฒนาและส่งเสริมการให้บริการวิชาชีพและส่งเสริมการพัฒนาทักษะของผู้เรียนโดยผู้เรียนจากการเรียนรู้ประสบการณ์จริง
  4. พัฒนาด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา
  5. ส่งเสริมการการพัฒนาและสร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์งานสร้างสรรค์โครงงานทางวิชาชีพ การประกอบอาชีพอิสระและงานวิจัยของครูและนักเรียน นักศึกษา
  6. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอาคารสถานที่ห้องปฏิบัติและจัดหาเครื่องมืออุปกรณ์สื่อการเรียนการสอนพัฒนาให้เป็นแหล่งเรียนรู้
  7. ส่งเสริมการพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพรวมถึงด้านจรรยาบรรณทุนการศึกษา การวิจัย
  8. ปฏิรูปการจัดการอบรมหลักสูตรวิชาและบริการวิชาชีพและส่งเสริมผู้เรียนผ่านการทดสอบมาตรฐาน วิชาชีพจากองค์กรที่เป็นยอมรับ
  9. ส่งเสริมผู้เรียนผ่านการทดสอบมาตรฐานทางวิชาชีพจากองค์กรที่เป็นที่ยอมรับ
  10. พัฒนาตามปรัชญา ปณิธาน พันธกิจ จุดเน้น จุดเด่น เป็นเอกลักษณ์สร้างการมีส่วนร่วมของผู้เรียนและบุคลากรภายในสถานศึกษา
  11. ส่งเสริมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ด้านคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณ วิชาชีพ
  12. ส่งเสริมการพัฒนาด้านการมีส่วนร่วมของผู้ทรงคุณวุฒิผู้มีความรู้ชุมชน สถานประกอบการ
  13. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของบุคลากรด้านการประกันคุณภาพภายในและภายนอก

ความโดดเด่นของสถานศึกษา (ผลงาน/รางวัล/เกียรติยศ/ชื่อเสียง)

  1. ระดับอาชีวศึกษาจังหวัด จังหวัดชัยภูมิ

– รางวัลครูหนึ่งแสนครูดี ในระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ จำนวน 5 ท่าน ได้แก่

  1. 1. นายสมหวัง สุพะกะ
  2. 2. นายเมธี โลไธสง
  3. นางพิมใจ ฉัตรศรีพงษ์
  4. นายนิพนธ์ โพธิ์ถิรเลิศ
  5. นายจรูญ จงกลกลาง

– รางวัลผู้บริหารดีเด่น ประปีการศึกษา 2558 ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ

  1. นายชูชาติ พรามจร
  2. นายกลิ่น จันทะพอน
  3. ว่าที่ร้อยตรี ดร. คันศร คงยืน
  4. นายนิพนธ์ โพธิ์ถิรเลิศ
  5. นางวีรวรรณ โยทองยศ

– รางวัลครูดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2558 ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ

  1. นายวศิน แฝงเวียง
  2. นางอรทัย ทาทิพย์
  3. นางสุนันทา จินาเฟย
  4. นางพัชรี ภูสีอ่อน
  5. นางอรวรรณ สิทธิสาร
  6. นางจำนงค์ บำรุงชัย
  7. นางอังสนา อนุตตรังกูร
  8. นางเบญจมาศ นามศิริพงศ์พันธุ์
  9. นายณรงค์ฤทธิ์ ฉัตรศรีพงษ์
  10. นายบรรหาร โคตะลี
  11. นายรณชัย กลางเอก
  12. นายมงคล บุญกอง
  13. นายธัชพงษ์ เอี่ยมสำอาง
  14. นางสาวสมยงค์ ทองโคกศรี

– รางวัลบุคลากรสายสนับสนุนการสอนที่มีผลงานดีเด่น ประจำปีการศึกษา 2558 ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ

  1. นายประยงค์                   อินทร์หมื่นไวย
  2. นางสาวปุณยนุช               สัจจวีระกุล
  3. นายไพฑูรย์                     ศิริเถียร
  4. นายสุเทพ                      ธงทอง
  5. นางสาวสุนิตฐา                 เต้หนองเป็ด
  6. นางสาวภัทราพร               วงศ์พรหม
  7. นางสาวสุชาวดี                 สงวนทรัพย์
  • ได้รับรางวัล รองชนะเลิศ ในการประกวดสิ่งประกวดสิ่งประดิษฐ์ประเภทที่ 2 ด้านการประกอบอาชีพ การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ ประจำปีการศึกษา 2558 ผลงาน:ตู้ขายผลไม้ไร้น้ำแข็ง ผู้ประดิษฐ์โครงงาน ได้แก่
  1. นายอัษฎาวุธ หมื่นแสน
  2. นายณัฐพล ล้วนมงคล
  3. นายกิตติพงษ์ แก้วสิงห์
  4. นายเอกพันธ์ หมั่นการ
  5. นายอภิเดช งาเฉลา
  6. นายอนุรักษ์ ดงทอง
  7. นายอนุชิต คำภิรา
  • ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภท 2 ด้านการประกอบอาชีพ การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ ประจำปีการศึกษา 2558 ผลงาน:เครื่องทอพรมเช็ดเท้าลายประดิษฐ์ ผู้ประดิษฐ์โครงงาน ได้แก่
    1. นายอนุรักษ์ ดงทอง
    2. นายสุดสาคร โมห้างหว้า
    3. นายอภิเดช งาเฉลา
    4. นายเอกพันธ์ หมั่นกลาง
    5. นายนนธวัฒน์ คงโพธิ์น้อย
    6. นายวรวุฒิ ผลสวัสดิ์
    7. นายศักดิ์ชัย รุ่งเรือง
  • ได้รับรางวัล รองชนะเลิศ ประเภท 3 ด้านผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ ประจำปีการศึกษา 2558 ผลงาน:ถุงคลุมสูทนาโน ผู้ประดิษฐ์โครงงาน ได้แก่
  1. นางสาวณัฐณิชา ทองเกษม
  2. นางสาววิศัลยา กุลยะ
  3. นางสาวศิวภัทร ฉัตรสูงเนิน
  4. นางสาวละอองดาว สุขหนองหว้า
  5. นางสาววรวิพร เทียวประสงค์
  6. นางสาวสุทธิดา ผิวสา
  7. นางสาวรัตนา ภักดิ์ชัยภูมิ
  8. นางสาวจรรยา แดงสกุล
  9. นางสาวดาริกา เจนใจ
  10. นางสาวสุภาพร เกลี้ยงค้างพลู
  • ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับ 2 ประเภท 4 ด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม การประกวดสิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ ประจำปีการศึกษา ผลงาน:เตาถ่านผลิตไฟฟ้า ผู้ประดิษฐ์โครงงาน ได้แก่
  1. นายเกรียงไกร ลาภมาก
  2. นายนามพิทักษ์ มณีนิล
  3. นายวุฒินันท์ ต่อกำลัง
  4. นายณัฐพงษ์ เศษภักดี
  5. นายศุมนัส เส็งพรม
  • นางสาวระพีพร แสนสุรินทร์ ได้รับรางวัล ระดับเหรียญทองการแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ ประจำปี  2558 การเล่านิทานพื้นบ้าน

–  ได้รับรางวัลชนะเลิศการแข่งขันทักษะวิชาชีพ  ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ  สาขามารยาทไทยประจำปี 2558 ได้แก่

  1. นางสาวสุนิษา กอหญ้ากลาง
  2. นายบวรศักดิ์ ยิ้มจันทร์
  • นางสาวธาริดา กองจันทร์ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ ประจำปี  2558  สาขาการพูดสาธิตภาษาอังกฤษ
  • นางสาววัชรินทร์ โพธิผล ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 2 การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ ประจำปี  2558  สาขาการพูดสุนทรพจน์
  • นางสาวสุพรรษา เหล่าระเหว ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 3 การแข่งขันทักษะวิชาชีพ ระดับอาชีวศึกษาจังหวัดชัยภูมิ ประจำปี  2558  สาขาการรักการอ่าน
  1. ระดับอาชีวศึกษาภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 ในการประกวดโครงงาน “นวัตกรรมพลังงานเพื่อโลกสีเขียว 2558-2558” ระดับภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปีพุทธศักราช 2558-2558 ผลงาน “ตู้ขายผลไม้ไร้น้ำแข็ง” ได้แก่
  1. นายณัฐพล ล้วนมงคล
  2. นายอัษฎาวุธ หมื่นแสน
  3. นายศุมนัส เส็งพรม
  • ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 ครูที่ปรึกษา ในการประกวดโครงงาน “นวัตกรรมพลังงานเพื่อโลกสีเขียว 2558-2558” ระดับภาค ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประจำปีพุทธศักราช 2558-2558 ผลงาน “ตู้ขายผลไม้ไร้น้ำแข็ง” ได้แก่
  1. 1. นายมนตรี นาคนิล
  2. 2. นายมะนพ สิงห์ทอง
  3. ระดับสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
  • ได้รับรางวัลการนำนโยบายส่งเสริมความร่วมมือกับสถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ องค์กรวิชาชีพ ในการจัดอาชีวศึกษาร่วมกัน และมีผลสำเร็จในการปฏิบัติงานศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา ประจำปีการศึกษา 2558 ระดับดีมาก ร้อยละ 100
  • ได้รับคัดเลือกจากกระทรวงศึกษาธิการให้เป็นสถานศึกษาที่ได้รับรางวัลพระราชทาน ระดับอาชีวศึกษา (ขนาดเล็ก) ประจำปีการศึกษา 2558
  1. 4. ระดับประเทศ
  • สมาชิกทีม ต้นกล้าพญาแล ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับที่ 3 ในการประกวดโครงงาน “นวัตกรรมพลังงานเพื่อโลกสีเขียว 2558-2558” ระดับภาค ประเทศ ประจำปีพุทธศักราช 2558-2558 ได้แก่
    1. นายณัฐพล ล้วนมงคล
    2. นายอัษฎาวุธ หมื่นแสน
    3. นายศุมนัส เส็งพรม
    4. นายณัฐพงษ์ เศษภักดี
  • เป็นที่ปรึกษาทีม ต้นกล้าพญาแล ได้รับรางวัล รองชนะเลิศอันดับที่ 3 ในการประกวดโครงงาน “นวัตกรรมพลังงานเพื่อโลกสีเขียว 2558-2558” ระดับภาค ประเทศ ประจำปีพุทธศักราช 2558-2558 ได้แก่
  1. 1. นายมนตรี นาคนิล
  2. 2. นายมะนพ สิงห์ทอง

–   ได้นำนโยบายส่งเสริมความร่วมมือกับสถานประกอบการ สมาคมวิชาชีพ องค์กรวิชาชีพในการจัดการอาชีวศึกษาร่วมกันและมีผลสำเร็จในการปฏิบัติงานศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา ประจำปีการศึกษา 2558 ระดับดีมาก (ร้อยละ100)

  • รางวัลหนึ่งแสนครูดีประจำปี 2558 ระดับชาติ จากครุสภา ได้แก่
    1. นายณรงค์ฤทธิ์ ฉัตรศรีพงษ์
    2. นายกมลาสน์ คำวชิรพิทักษ์
    3. นายวศิน แฝงเวียง
    4. นายวารุศาสน์ จุลอักษร
    5. นางวิภาพร วงษ์ศรีชา
    6. นางวราภรณ์ โตนชัยภูมิ
  • รางวัลเหรียญเงิน ในการแข่งขันหุ่นยนต์อาชีวศึกษา (ABU) ประจำปี 2558 ระดับชาติ จากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้แก่
    1. นายบุญโชค นาเจริญ
    2. นายโยธิน หงส์ทอง
    3. นายธฤทชัย เจริญวัฒน์
    4. นายชานนท์ เพ็งปอผาน
  1. นายอรรถพล ปลื้มชัย
  2. นายวารุเดช บุญต่อ
  3. นายหาญณรงค์ จันทร์วงษ์
  4. นายสุรพันธ์ จ่าชัย
  5. นายนที กรวดนอก
  • เป็นครูที่ปรึกษาในการแข่งขันหุ่นยนต์อาชีวศึกษา (ABU) ประจำปี 2558 ระดับชาติ           จากสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้แก่
    1. นายณรงค์ฤทธิ์ ฉัตรศรีพงษ์
    2. นายกมลาสน์ คำวชิรพิทักษ์
    3. นายวสันต์ มาตเริง

กลยุทธ์และมาตรการ ของสถานศึกษา

กลยุทธ์ที่ 1 พัฒนาด้านผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษา

          เป้าประสงค์ เพิ่มจำนวนผู้เรียนและพัฒนาผู้เรียนผู้สำเร็จการศึกษาอาชีวศึกษาให้มีคุณภาพและมาตรฐานตรงกับความต้องการของสถานประกอบการและการประกอบอาชีพอิสระ

1 การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพของผู้เรียนและผู้สำเร็จการศึกษา

มาตรการ 1.1 พัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ

มาตรการ 1.2 พัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์การทดสอบการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา

มาตรการ 1.3 พัฒนาผู้เรียนผ่านเกณฑ์ทดสอบมาตรฐานวิชาชีพของสถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ

มาตรการ 1.4 พัฒนาครูให้มีความชำนาญและเชี่ยวชาญเฉพาะสาขาวิชา

มาตรการ 1.5 พัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่ทันสมัย เช่น E-Learning และ Module

2 การเพิ่มจำนวนผู้เรียน

มาตรการ 2.1 พัฒนาระบบกลไกเทียบโอนความรู้และประสบการณ์

มาตรการ 2.2 สร้างและพัฒนาเครือข่ายเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอน

มาตรการ 2.3 แนะแนวเชิงรุก เช่น Open House หรือ Road Show

มาตรการ 2.4 เร่งประชาสัมพันธ์ความเป็นเลิศและเปลี่ยนภาพลักษณ์

กลยุทธ์ที่ 2 พัฒนาด้านหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา

          เป้าประสงค์ หลักสูตรฐานสมรรถนะและการจัดการเรียนการสอน มีการพัฒนาคุณภาพตามความต้องการของสถานประกอบการหรือประชาคมอาเซียน

1 การพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะ

มาตรการ 1.1 สำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลความต้องการในการพัฒนาหลักสูตร

มาตรการ 1.2 พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาในการพัฒนาหลักสูตรและจัดทำแผนการเรียนรู้

มาตรการ 1.3 พัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาร่วมกับเครือข่าย

มาตรการ 1.4 จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาสอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการและหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2 การพัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน

มาตรการ 2.1 นิเทศการจัดการเรียนการสอนและการนำหลักสูตรฐานสมรรถนะไปใช้

มาตรการ 2.2 พัฒนากระบวนการวัดและประเมินการจัดการเรียนการสอนรายวิชา

มาตรการ 2.3 พัฒนาระบบการฝึกงานในสถานประกอบการและศูนย์ฝึกในสถานศึกษา

มาตรการ 2.4 ยกระดับคุณภาพด้านการใช้ภาษาอังกฤษของผู้เรียน

มาตรการ 2.5 นำผลงานวิจัยไปใช้แก้ปัญหาการเรียนการสอน

กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาด้านการบริหารจัดการอาชีวศึกษา

          เป้าประสงค์ ระบบการบริหารจัดการอาชีวศึกษามีการพัฒนาและมีประสิทธิภาพ

1 การพัฒนาระบบการบริหารจัดการ

มาตรการ 1.1 ส่งเสริมสนับสนุนการปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษา

มาตรการ 1.2 จัดทำแผนและพัฒนาการบริหารจัดการตามอัตลักษณ์ของสถานศึกษา

มาตรการ 1.3 พัฒนาระบบการบริหารงานและภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษา

มาตรการ 1.4 พัฒนาระบบฐานข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา

มาตรการ 1.5 จัดระบบและกลไกการบริหารความเสี่ยง

2 การพัฒนาระบบดูแลให้คำปรึกษาช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษา

มาตรการ 2.1 สร้างกลไกและวางระบบดูแลให้คำปรึกษาช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษา

มาตรการ 2.2 ดูแลให้คำปรึกษาช่วยเหลือนักเรียนนักศึกษาของครูที่ปรึกษาและผู้ปกครอง

มาตรการ 2.3 ป้องการทะเลาะวิวาท ยาเสพติด สิ่งอบายมุข ในสถานศึกษา

มาตรการ 2.4 ช่วยเหลือให้คำปรึกษาการหารายได้ระหว่างเรียนและทุนการศึกษา

3 การพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในสถานศึกษา

มาตรการ 3.1 พัฒนาสภาพแวดล้อมภูมิทัศน์ของสถานศึกษา

มาตรการ 3.2 พัฒนาอาคารสถานที่ ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ โรงฝึกงานของสถานศึกษา

มาตรการ 3.3 บริการ พัฒนาและจัดหาศูนย์วิทยบริการ

มาตรการ 3.4 เร่งจัดหาจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และคอมพิวเตอร์

4 การพัฒนาครู บุคลากร ทางการศึกษาและการระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษา

มาตรการ 4.1 การพัฒนาคุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาร่วมกับเครือข่าย

มาตรการ 4.2 บริหารการเงินและงบประมาณสอดคล้องกับแผนพัฒนาของสถานศึกษา

มาตรการ 4.3 ระดมทรัพยากรในการจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่ายในประเทศและต่างประเทศ

กลยุทธ์ที่ 4 พัฒนาการจัดการฝึกอบรมหลักสูตรวิชาชีพและบริการวิชาชีพ เป้าประสงค์ การบริหารจัดการและการฝึกอบรมหลักสูตรระยะสั้นพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ

1 การพัฒนาหลักสูตร

มาตรการ 1.1 พัฒนาคุณภาพแผนการจัดการเรียนรู้

มาตรการ 1.2 ร่วมมือกับเครือข่ายพัฒนาและสร้างหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาชีพเฉพาะทาง

มาตรการ 1.3 ร่วมมือกับเครือข่ายพัฒนาและสร้างหลักสูตรวิชาชีพเฉพาะทางพิเศษ (6-12 ชั่วโมง ต่อหลักสูตร)

2 การพัฒนาระบบกระบวนการฝึกอบรม

มาตรการ 2.1 จัดหาวัสดุ ครุภัณฑ์แต่ละสาขาวิชาชีพที่ทันสมัย

มาตรการ 2.2 จัดเตรียมและจัดหาพื้นที่ฝึกอบรมที่ทันสมัย

มาตรการ 2.3 พัฒนาและจัดเตรียมเอกสารการฝึกอบรม ใบความรู้ ใบสั่งงาน ใบประเมินผลภาคปฏิบัติ

มาตรการ 2.4 ร่วมมือกับเครือข่าย หุ้นส่วนสร้างศูนย์ฝึกอบรมในสถานศึกษา

3 การพัฒนาครูบุคลากรและระดมทรัพยากรในการฝึกอบรม

มาตรการ 3.1 ร่วมมือกับเครือข่ายและภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

มาตรการ 3.2 พัฒนาครูผู้ฝึกอบรมมีความเชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพเฉพาะ

มาตรการ 3.3 จัดทำฐานข้อมูลเครือข่ายและภูมิปัญญาท้องถิ่น

4 การพัฒนาระบบบริหารจัดการฝึกอบรม

มาตรการ 4.1 จัดทำแผนการบริหารการฝึกอบรม

มาตรการ 4.2 บริหารการเงินงบประมาณสอดคล้องกับแผนพัฒนาสถานศึกษา

มาตรการ 4.3 เร่งประชาสัมพันธ์เชิงรุก เปลี่ยนภาพลักษณ์

มาตรการ 4.4 ใช้ระบบ ICT มาใช้บริหารจัดการในด้านผู้รับการฝึกอบรม ด้านบุคลากร และด้านงบประมาณ

5 การะพัฒนาระบบการประเมินผลและติดตามผลการฝึกอบรม

มาตรการ 5.1 จัดระบบฐานข้อมูลและการสืบค้นผู้รับบริการฝึกอบรมและผู้สำเร็จการฝึกอบรม

มาตรการ 5.2 จัดระบบฐานข้อมูลและการสืบค้นผู้สำเร็จการฝึกอบรมนำความรู้ความสามารถไปใช้ประโยชน์

มาตรการ 5.3 เร่งพัฒนาปรับปรุงกระบวนการฝึกอบรมตามข้อเสนอแนะจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

กลยุทธ์ที่ 5 สนับสนุนส่งเสริมการพัฒนาและสร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์           การประกอบอาชีพอิสระและงานวิจัย

          เป้าประสงค์ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ การประกอบอาชะอิสระ งานวิจัยได้รับการส่งเสริมพัฒนาให้มีคุณภาพและมาตรฐานสากล

1 การพัฒนาและสร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และงานวิจัย ให้มีคุณภาพและมาตรฐานสากล

มาตรการ 1.1 พัฒนาระบบกลไกการบริหารจัดการสร้างนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และงานวิจัย

มาตรการ 1.2 สร้างและพัฒนาคุณภาพ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ และงานวิจัย

มาตรการ 1.3 จัดสัมมนาแลกเปลี่ยนและประชาสัมพันธ์เผยแพร่ความเป็นเลิศ

2 การพัฒนางานสร้างสรรค์ และการประกอบอาชีพอิสระ

มาตรการ 2.1 พัฒนาระบบการพัฒนางานสร้างสรรค์ และการประกอบอาชีพอิสระ

มาตรการ 2.2 ร่วมมือกับเครือข่าย พัฒนาคุณภาพงานสร้างสรรค์ และการประกอบอาชีพอิสระ

มาตรการ 2.3 สร้าง พัฒนาและดำเนินการของศูนย์บ่มเพาะของสถานศึกษา

กลยุทธ์ที่ 6 สนับสนุนส่งเสริมการปลูกฝังจิตสำนึกและเสริมสร้างความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก

          เป้าประสงค์ นักเรียนนักศึกษามีจิตสำนึกและเสริมสร้างเป็นพลเมืองไทยและพลโลกที่ดี

1 การพัฒนานักเรียนนักศึกษามีจิตสำนึกและเสริมสร้างเป็นพลเมืองไทยที่ดี

มาตรการ 1.1 ปลูกจิตสำนึกด้านการรักชาติเทิดทูลพระมหากษัตริย์และส่งเสริมการปกครอง ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

มาตรการ 1.2 ทะนุบำรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม

มาตรการ 1.3 ปลูกจิตสำนึกด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม

มาตรการ 1.4 ส่งเสริมด้านการกีฬาและนันทนาการ

มาตรการ 1.5 ปลูกฝังจิตสำนึกด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2 การพัฒนาครูและนักเรียนนักศึกษาเตรียมพร้อมเป็นพลโลกที่ดี

มาตรการ 2.1 พัฒนาครูและนักเรียน นักศึกษา การสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษและไอที

มาตรการ 2.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการศึกษาศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของอาเซียน

มาตรการ 2.3 แลกเปลี่ยนนักเรียนนักศึกษาระหว่างกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

มาตรการ 2.4 จัดส่งนักเรียนนักศึกษาฝึกงานประสบการณ์ในกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน

กลยุทธ์ที่ 7 ส่งเสริมและพัฒนาการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

          เป้าประสงค์ การประกันคุณภาพในสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ

1 การพัฒนาระบบกระบวนการประกันคุณภาพภายใน

มาตรการ 1.1 กำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

มาตรการ 1.2 จัดทำแผนพัฒนาการจัดการของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานโดยการมีส่วนร่วมของผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสีย

2 การประเมินผลและติดตามผลการประกันคุณภาพภายใน

มาตรการ 2.1 จัดทำแผนการประเมินผลและติดตามผลการประกันคุณภาพภายใน

มาตรการ 2.2 ครู หัวหน้าแผนก/งาน จัดทำ SAR ตามตัวบ่งชี้ที่เกี่ยวข้อง

มาตรการ 2.3 รายงานผลการดำเนินงานตามแผนพัฒนาและแผนการประเมินผลและติดตามผลการประกันคุณภาพภายใน

3 การพัฒนาการดำเนินงานตามมาตรฐานอาชีวศึกษา

มาตรการ 3.1 จัดทำเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูลแต่ละตัวบ่งชี้

มาตรการ 3.2 บริหารจัดการข้อมูลแต่ละตัวบ่งชี้ด้วยระบบ ICT

มาตรการ 3.3 นำข้อเสนอแนะผลจากการประกันคุณภาพภายในและภายนอกมาพัฒนาสถานศึกษา